picture

picture

picture

picture

picture

picture

รางวัลพานแว่นฟ้า

“รางวัลพานแว่นฟ้า” เป็นรางวัลที่มอบให้แก่ผู้ชนะในการประกวดวรรณกรรมเรื่องสั้นและบทกวีการเมือง โดยรัฐสภาจัดขึ้นเพื่อสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา...

วันพิพิธภัณฑ์ไทย

การเข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมต่าง ๆ ในมหกรรมพิพิธภัณฑ์ไทย ทำให้พิพิธภัณฑ์รัฐสภาเป็นที่รู้จักแพร่หลายมากขึ้น ตลอดจนเกิดการสร้างเครือข่ายและความร่วมมือ...

พิพิธภัณฑ์ไทยในวิกฤติโควิด-19 สู่การเป็นดิจิทัลมิวเซียม

สถานการณ์โควิด-19 ทำให้แต่ละพิพิธภัณฑ์ทำสื่อในรูปแบบออนไลน์มากยิ่งขึ้น มีการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ผ่านเครื่องมือและเทคโนโลยีต่าง ๆ พิพิธภัณฑ์หลายแห่งพัฒนาแอปพลิเคชัน...

การอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุของรัฐสภา

เจ้าหน้าที่ส่วนงานจดหมายเหตุและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ทั้งผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ จะต้องตระหนักถึงความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น โดยดำเนินงานในทุกขั้นตอนด้วยความใส่ใจ และ...

ชวเลข : หัวใจสำคัญของการประชุมรัฐสภา คุณค่าแห่งการอนุรักษ์

ชวเลข ถือเป็นหัวใจสำคัญของการประชุมรัฐสภา เกิดเคียงคู่มากับรัฐสภาไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน ผลผลิตสำคัญของการจดชวเลข คือ บันทึกการประชุมและ...

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

นับแต่ปี 2517 จนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยมีบุคคลดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแล้ว 8 คน คนแรก คือ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์...

พระมหากษัตริย์ไทยกับการวางรากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย

พระมหากษัตริย์ของไทยได้เตรียมการวางรากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตยแก่ประชาชนเป็นอย่างดี เพื่อประชาชนจะได้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมในการเข้ามามีส่วนร่วม...

พระราชกรณียกิจด้านการพิพิธภัณฑ์ฯ

การศิลปะนั้น อารยประเทศทั้งหลายย่อมถือว่าเป็นสิ่งสำคัญสำหรับชาติส่วนหนึ่ง เป็นของควรรักษาไว้และควรบำรุงให้เจริญขึ้นโดยลำดับ ศิลปวัตถุก็ดี โบราณวัตถุก็ดี ย่อมเป็นส่วนหนึ่ง...

รัฐพิธีเปิดประชุมสภา

สิ่งสำคัญในการที่พระมหากษัตริย์เสด็จพระราชดำเนินมาประกอบพิธีเปิดประชุมสภานั้น คือ พระราชดำรัสที่ได้พระราชทานแก่สมาชิกรัฐสภา ซึ่งสมาชิกรัฐสภาทุกคนจะต้องน้อมใส่เกล้า...

80 ปี แห่งการสวรรคตของพระมหากษัตริย์นักประชาธิปไตย

ในโอกาสครบ 80 ปีแห่งการเสด็จสวรรคต สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและพสกนิกรชาวไทย ขอน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ที่ทรงบำเพ็ญปฏิบัติ...

ครั้งหนึ่งกับ..พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ

ครั้งหนึ่ง...ได้เคยมีส่วนร่วมในการดูแลรับผิดชอบสิ่งของเครื่องใช้ส่วนพระองค์อันมีคุณค่ายิ่งของพระมหากษัตริย์นักประชาธิปไตย และเผยแพร่พระเกียรติคุณของพระองค์ให้แพร่หลาย...

18 พฤษภาคม : วันพิพิธภัณฑ์สากล (INTERNATIONAL MUSEUM DAY)

สาระของวันพิพิธภัณฑ์สากลจึงไม่ใช่การเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อจะย้ำยืนว่าตนอยู่ในชุมชนพิพิธภัณฑ์สากลเท่านั้น แต่ควรเป็นโอกาสดีที่พิพิธภัณฑ์จะหันกลับมาสำรวจตนเองว่ามีความคิด...

งานประติมากรรมและงานศิลปกรรม ณ อาคารรัฐสภา ถนนอู่ทองใน

บริเวณภายในอาคารและภายนอกอาคาร ประดับตกแต่งด้วยงานประติมากรรมและงานศิลปกรรมที่มีความงดงาม สื่อความหมายและแสดงถึงพัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย...

ภาพจิตรกรรมพระราชกรณียกิจที่สำคัญของพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์

ภาพจิตรกรรมนี้ จะเป็นถาวรวัตถุอนุสรณ์สำคัญ ก่อให้เกิดประโยชน์เอนกประการต่อการศึกษาและความเข้าใจอันดีของประชาชน ตลอดจนเป็นศรีสง่าแก่บ้านเมืองอีกด้วย ทั้งยังเป็นพลังศรัทธาที่จะถวาย...

พระราชหัตถเลขาสละราชสมบัติพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ข้าพเจ้าเห็นแก่ความเรียบร้อยของอาณาประชาราษฎร ไม่อยากให้เสียเลือดเนื้อกับทั้งเพื่อจัดการโดยละม่อมละไม ไม่ให้ขึ้นชื่อว่าได้จลาจลเสียหายแก่บ้านเมือง ...

พฤฒสภา

ที่เราจําต้องมีสมาชิกประเภทที่ 2 ไว้กึ่งหนึ่งก็เพื่อที่จะช่วยเหลือผู้แทนราษฎร ในฐานะที่เพิ่งเริ่มมีการปกครองแบบรัฐธรรมนูญ เราย่อมทราบอยู่แล้วว่ายังมีราษฎรอีกเป็นจํานวนมากที่ยังไม่ได้รับการศึกษา...

การเลือกตั้ง ส.ส.

อาคารรัฐสภาเป็นสัญลักษณ์ของการปกครองประชาธิปไตย แนวคิดในการออกแบบอาคารและบริเวณโดยรอบ จึงให้ความสำคัญแก่ประชาชนทุกระดับ เพราะประชาชนอยู่ในฐานะที่สำคัญในทุกภาคส่วน...

การเลือกตั้ง ส.ว.

เหตุการณ์วันที่ 14 ตุลาคม 2516 เป็นเหตุการณ์บ้านเมือง ไม่มีใครคนใดคนหนึ่งเป็น “เจ้าของ” เหตุการณ์นั้น หากเป็นเรื่องของส่วนรวม ดังนั้น การสร้างอนุสรณ์สถาน 14 ตุลา จึงควรเป็นเรื่องของรัฐร่วมกับ...

(จด)หมายเหตุรัฐสภา

เหตุการณ์วันที่ 14 ตุลาคม 2516 เป็นเหตุการณ์บ้านเมือง ไม่มีใครคนใดคนหนึ่งเป็น “เจ้าของ” เหตุการณ์นั้น หากเป็นเรื่องของส่วนรวม ดังนั้น การสร้างอนุสรณ์สถาน 14 ตุลา จึงควรเป็นเรื่องของรัฐร่วมกับ...

การออกแบบอาคารรัฐสภาแห่งใหม่

อาคารรัฐสภาเป็นสัญลักษณ์ของการปกครองประชาธิปไตย แนวคิดในการออกแบบอาคารและบริเวณโดยรอบ จึงให้ความสำคัญแก่ประชาชนทุกระดับ เพราะประชาชนอยู่ในฐานะที่สำคัญในทุกภาคส่วน...

อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา

เหตุการณ์วันที่ 14 ตุลาคม 2516 เป็นเหตุการณ์บ้านเมือง ไม่มีใครคนใดคนหนึ่งเป็น “เจ้าของ” เหตุการณ์นั้น หากเป็นเรื่องของส่วนรวม ดังนั้น การสร้างอนุสรณ์สถาน 14 ตุลา จึงควรเป็นเรื่องของรัฐร่วมกับ...

จดหมายเหตุรัฐสภาไทย

เอกสารจดหมายเหตุของรัฐสภา มีความสำคัญในการเป็นหลักฐานทางกระบวนการนิติบัญญัติของชาติ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมา เหตุการณ์สำคัญ และกิจกรรมต่าง ๆ ของรัฐสภา ...

ดุสิตธานี เมืองทดลองประชาธิปไตย

ดุสิตธานีถือกำเนิดที่พระราชวังสวนดุสิต ภายหลังได้ย้ายมาอยู่ที่พระราชวังพญาไท สิ่งก่อสร้างจำลองต่าง ๆ ในดุสิตธานีมีขนาดสูง 2-3 ฟุต เช่น ที่ทำการรัฐบาล บ้านเรือนราษฎร พระราชวัง ศาสนสถาน...

งานฉลองรัฐธรรมนูญ - มหกรรมที่ใหญ่ที่สุดแห่งยุค

เมื่อมี “งานพิธี” คือพระราชพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 ในวันที่ 10 ธันวาคม 2475 แล้ว “งานฉลอง” ก็ตามมา...

อาคารรัฐสภาไทย

รัฐสภาของประเทศไทยเกิดขึ้นภายหลังเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระที่นั่งอนันตสมาคมให้ใช้เป็นที่ประชุมสภา...

กระบวนการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับสมุดไทย

ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 นายกรัฐมนตรี เป็นผู้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย ซึ่งมีความยาว 279 มาตรา นำมาเขียนในสมุดไทยได้ 419 หน้า หรือจำนวน 259 พับครึ่ง...

ความเป็นมาของธงชาติไทย

ธงชาติไทยหรือธงไตรรงค์ เป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทย แสดงถึงเอกลักษณ์และศักดิ์ศรีในความเป็นไทย มีความหมายถึงความเป็นเอกราช สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์...

รัฐธรรมนูญใต้ตุ่ม

“รัฐธรรมนูญใต้ตุ่ม” เป็นชื่อเรียก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 4 ของประเทศไทยที่ประกาศใช้เมื่อ วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490...

team-member

ลงเบี้ย

ลงเบี้ย คือ วิธีการออกเสียงลงคะแนนลับในอดีตวิธีหนึ่งในการประชุมสภา โดยให้สมาชิกสภานำเบี้ย สีต่าง ๆ ไปใส่ภาชนะที่จัดไว้ซึ่งอาจเป็นหีบหรือตู้หีบตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับการประชุมแต่ละฉบับ...

team-member

กฎหมายตราสามดวง

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายของ “กฎหมายตราสามดวง” ว่าหมายถึง ประมวลกฎหมายโบราณของไทย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช...

คณะราษฎร

“คณะราษฎร” คือ กลุ่มบุคคลผู้ดำเนินการปฏิวัติสยามเมื่อ พ.ศ. 2475 โดยยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงการปกครองของราชอาณาจักรสยาม...

การเปลี่ยนปีปฏิทินของประเทศไทย

ตามจารีตประเพณีของไทยแต่โบราณได้ถือวันแรม 1 ค่ำ เดือนอ้าย เป็นวันขึ้นปีใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับคติแห่งพุทธศาสนา ซึ่งถือช่วงฤดูเหมันต์หรือฤดูหนาวเป็นการเริ่มต้นปี...

team-member

ตราพระราชลัญจกรบนรัฐธรรมนูญฉบับสมุดไทย

พระราชลัญจกร คือ พระตราสำหรับพระเจ้าแผ่นดินที่ใช้ประทับในเอกสารต่าง ๆ มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยใช้ชาดซึ่งเป็นวัตถุสีแดงชนิดหนึ่งผสมกับน้ำมัน สำหรับการประทับตรา...

team-member

การเปลี่ยนชื่อประเทศจาก “สยาม” เป็น “ไทย”

เมื่อการอภิปรายในประเด็นดังกล่าวยุติลง สภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติในวาระที่ 3 เห็นชอบด้วยกับคณะกรรมาธิการในการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก “สยาม” เป็น “ไทย”...

team-member

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ความหมายและส่วนประกอบ

หลัก 6 ประการของคณะราษฎร อันเป็นนโยบายของคณะราษฎร ได้แก่ หลักเอกราช หลักความปลอดภัย หลักเศรษฐกิจ หลักเสมอภาค หลักเสรีภาพ และหลักการศึกษา...